ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

json_encode การส่งค่าตัวแปรที่เป็นชนิด อาเรย์จาก PHP ส่งให้กับ Javascript


หลายคนคงเคยมีปัญหากับการส่งค่าตัวแปร อาเรย์จาก PHP ให้กับ Javascript 
ซึ่งตอนนี้ PHP มีฟังก์ชั่นที่ช่วยในการทำงานแปลงข้อมูล คือการ encode ข้อมูล
โดยใช้ฟังก์ชัน json_encode ของ PHP ซึ่งเป็นอีกฟังก์ชันหนึ่งที่น่าสนใจมาก เพราะว่า ฟังก์ชันนี้จะทำหน้าที่แปลงค่าที่เราส่งให้ argument ให้ออกมาเป็น json ซึ่งสามารถนำเอาไปใช้เพื่อคืนค่าให้กับ AJAX แทนที่จะเป็น XML หรือ Text  จะช่วยให้เราใช้ javascript จัดการกับ Response ได้ง่ายยิ่งขึ้น แค่นี้ก็จะช่วยแก้ปัญหา การส่งค่าตัวแปรอาเรย์ไปยัง Javascript ได้เรียบร้อย
รูปแบบการใช้งานก็ตามนี้

รูปแบบ
string json_encode ( mixed $value [,int $options = 0] )

ตัวอย่าง
<?php
$arr=array('a'=>1,'b'=>2,'c'=>3,'d'=>4,'e'=>5);
echo json_encode($arr);
?>

ผลลัพท์ที่ได้
{"a":1,"b":2,"c":3,"d":4,"e":5}

credit:http://www.imooh.com/

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ส่วนประกอบของเว็บไซต์

ส่วนประกอบของเว็บไซต์ที่ดี ส่วนหัว (Header) สำหรับไว้แสดงโลโก้ หรือข้อความที่บ่งบอกว่า เว็บไซต์ของเรามีเนื้อหาอะไรบ้าง ในส่วนหัว อาจเป็นพื้นที่สำหรับใส่ป้ายโฆษณา สำหรับการหารายได้พิเศษ นอกจากนี้อาจมีคำนิยามของเว็บหรือสโลแกนต่อท้ายโลโก้ (อาจมีหรือไม่มีก็ได้) ถ้ามี อาจทำให้คุ้นเคยได้ง่ายขึ้น เมนู (Navigator) ไม่หลงผิดไปทิศทางอื่นๆ การมีเมนู ช่วยให้การค้นหาข้อมูลได้สะดวกมากขึ้น การวางเมนู ส่วนใหญ่จะอยู่ด้านบน ด้านซ้าย หรือด้านขวา เป็นหลัก ส่วนหลายๆ เว็บในปัจจุบัน มีการเพิ่มเมนูในส่วนท้าย อาจเป็นเพราะเนื้อหามีความยาวเกินหนึ่งหน้า หรือเพื่อเป็นการเพิ่มความสะดวกในการเข้าถึงเนื้อหาในส่วนอื่นๆ เนื้อหา (Contents) หมายถึง ข้อมูลที่เราต้องการให้ผู้เยี่ยมชมรับทราบ? เนื้อหาที่ดีควรมีการจัดแบ่งเป็นหมวดหมู่ให้ชัดเจน เพื่อให้สะดวกในการติดตามอ่านข้อมูลอื่นๆ เพ่ิมเติม ส่วนประเภทเนื้อหา ประกอบด้วย ข้อความที่เป็นตัวอักษร รูปภาพ / ภาพเคลื่อนไหว ไฟล์เสียง วีดีโอ ฯลฯ ส่วนท้าย (Footer) สำหรับแสดงรายละเอียดพื้นฐาน เช่น ใส่คำพูด ส่วนลิขสิทธิ์ (copyright) หรือใส่ที่อยู่ในการติดต่อ ช

เราต้องเตรียมอะไรบ้างก่อนเริ่มสร้าง

กำหนดจุดหมาย และจุดประสงค์       เช่น เราจะสร้างบ้าน เราจะต้องรู้ก่อนว่าเราจะสร้างเพื่ออะไร เช่น สร้างเพื่อเราเข้าอยู่เอง หรือสร้างให้คนอื่นอยู่ หรือสร้างไว้เพื่อเป็นบ้านรับรองแขก หรือให้คนงาน หรือให้เช่า หรือ ฯลฯ ถ้าเรารู้ว่าจะทำเพื่ออะไรเราก็สามารถที่จะจำกัดขนาดของข้อมูลลงได้ และมีเป่าหมายที่แน่นอนในการที่จะพัฒนาต่อไป วางแผน และแบบแปลน สำหรับการสร้าง       การที่เราวางแผนบนกระดาษก่อนถือว่าเป็นการเริ่มต้นที่ดีที่สุด ก่อนที่จะลงมือทำ การสร้างเว็ป ก็เช่นเดียวกัน ถ้าเราวางแผนหรือออกแบบไว้ก่อนย่อมทำใด้เราประสปความสำเร็จไปแล้วมากกว่า 40% เช่น ถ้าคิดจะสร้างเว็ปเพื่อแสดงผลงานของตนเอง เราก็จะต้องสร้างแบบหน้าแรก ว่าจะให้มีรูปแบบอย่างไร และจะต้องมีหน้าเว็ปกี่หน้า แต่ละหน้าจะใช้แสดงอะไรบ้าง และจะออกแบบอย่างไรให้หน้าเว็ปของเรามีคนเข้ามาดูแล้วอยากจะเก็บไว้ใน Bookmark ของตนเอง และมันจะเป็นเรื่องง่ายถ้าเราจะแก้ไขหรือปรับปรุงเว็ปของเราในภายหลัง ตั่งชื่อ       การตั้งชื่อก็มีส่วนสำคัญ เราจะต้องคิดตั่งชื่อก่อน เพราะการตั้งชื่อเพื่อให้คนจดจำกันได้นั้นไม่ใช่เรื่องง่าย เน้นที่ สั้น มีความหมา

การติดตั้งและการตั้งค่า Apache Virtual Hosts ใน Ubuntu

นอกจากนี้คุณจะต้องมีการติดตั้งโปรแกรม Apache เพื่อที่จะทำงานผ่านขั้นตอนต่างๆเหล่านี้ หากคุณยังไม่ได้ติดตั้ง ก็ให้คุณใช้คำสั่งนี้ในการติดตั้ง: sudo apt-get update sudo apt-get install apache2 หลังจากขั้นตอนเหล่านี้จะเสร็จสมบูรณ์เราสามารถเริ่มต้นได้ สำหรับวัตถุประสงค์ของคู่มือนี้, การตั้งค่าของฉันจะทำโฮสต์เสมือน example.com และ test.com จะถูกอ้างอิงคู่มือตลอด แต่คุณควรใช้โดเมนของคุณเองในขณะที่ตั้งค่าไปพร้อมกัน เราจะแสดงวิธีการแก้ไขโฮสต์ท้องถิ่นของคุณยื่นภายหลังการทดสอบการตั้งค่าหากคุณใช้ค่าหุ่น นี้จะช่วยให้คุณสามารถทดสอบการตั้งค่าของคุณจากคอมพิวเตอร์ที่บ้านของคุณแม้ว่าเนื้อหา ของคุณจะไม่สามารถใช้ได้ผ่านชื่อโดเมนที่จะเข้าชมอื่น ๆ ขั้นตอนที่ 1 — Create the Directory Structure ขั้นตอนแรกที่เราจะไปใช้เวลาที่จะทำให้โครงสร้างไดเรกทอรีที่จะเก็บข้อมูลเว็บไซต์ที่เราจะให้บริการกับผู้เข้าชม document root ของเรา (ไดเรกทอรีระดับบนสุดที่ Apache มีลักษณะที่จะหาเนื้อหาที่จะให้บริการ) จะถูกกำหนดให้แต่ละภายใต้ไดเรกทอรี / var / www ไดเรกทอรี เราจะสร้างไดเรกทอรีที่นี่สำหรับทั้งสองของโฮสต์